วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

ปก





เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ






นางสาวศศิณาภรณ์  จำนงธรรม
นางสาวอารญา      บุญปัญญา






โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์
สาขางาน อิเล็กทรอนิกส์
ภาคเรียนที่ ปีการศึกษา 2559
วิทยาลัยเทคนิคชัยภูมิ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ

วันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

บทที่ 5

บทที่ ๕
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

          การจัดทำโครงการครั้งนี้ เป็นการสร้างเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ ซึ่งคณะผู้ดำเนินการโครงการ นำเสนอการสรุปผลการดำเนินโครงการ อภิปรายผล  และข้อเสนอแนะตามลำดับขั้นตอนดังต่อไปนี้
          ๕.๑ สรุปผล
          ๕.๒ อภิปรายผล
          ๕.๓ ข้อเสนอแนะ
                   ๕.๓.๑ ข้อเสนอแนะในการประยุกต์ใช้
                   ๕.๓.๒ ข้อเสนอแนะในการขยายผลการวิจัย
๕.๑ สรุปผล
          ๕.๑.๑ วัตถุประสงค์
                   ๕.๑.๑.๑ เพื่อสร้างเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ
                   ๕.๑.๑.๒ เพื่อหาประสิทธิภาพของเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ           
๕.๑.๑.๓ เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ  
๕.๑.๒ ขอบเขตของโครงการ
                   ๕.๑.๒.๑ คุณสมบัติของโครงการ
                   ๕.๑.๒.๒ SENSOR ตรวจจับการนับเหรียญ
                   ๕.๑.๒.๓ เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ
                   ๕.๑.๒.๔ ขั้นตอนการใช้งาน
                             ๕.๔.๑.๑ นำเครื่องไปติดตั้ง
                             ๕.๔.๑.๒ เสียบปลั๊กโดยใช้ไฟ 220V  เปิดสวิตช์เพื่อให้เครื่องทำงาน
                             ๕.๔.๑.๓ กำหนดค่าเมื่อเหรียญแต่ละเหรียญตกลงไปตรงลิ้นชัก
                             ๕.๔.๑.๔ สังเกตจำนวนเงินที่นับได้บนจอLCD
                             ๕.๔.๑.๕ สรุปผลการทดลอง

๕.๑.๓ ผลการดำเนินโครงการ
          ผลการดำเนินโครงการเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ ได้ออกแบบสอบถามโดยให้ผู้เชี่ยวชาญทำการประเมิน มีรายระเอียดดังนี้
                   ๑. ด้านการออกแบบ อยู่ในระดับปานกลาง  ( =  3.96 , = .39 )
                   ๒. ด้านการใช้งาน อยู่ในระดับปานกลาง  ( =  3.74 , = .327 )
๓. ด้านคุณภาพ อยู่ในระดับปานกลาง  ( =  3.96 , = .39 )

๕.๒ อภิปรายผล
          การทดสอบเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติข้างต้นพบว่า เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติสามารถแยกชนิดของแต่ละเหรียญที่มีขนาดของแต่ละเหรียญไม่เหมือนกัน โดยมีการแสดงผลของแต่ละเหรียญที่ตกลงไปรวมถึงการรวมจำนวนเงินที่ตรวจจับได้บนจอแสดงผลLCD
๕.๓ ข้อเสนอแนะ
          ๑. ควรศึกษาวิธีการใช้งานอย่างละเอียด
          ๒. ไม่ควรให้สายไฟของเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติโดนน้ำเพราะจะทำให้เกิดการเสียหายของอุปกรณ์
๓. ควรนำไปใช้งานในภายในบ้าน อาคาร หรือสถานที่ที่มีหลังคาปกคลุมเท่านั้น
         
          ๕.๓.๑ ข้อเสนอแนะในการประยุกต์ใช้
                    ๑. หากมีการนำไปพัฒนาแนะนำให้เพิ่มอุปกรณ์เซนเซอร์ เพื่อตรวจจับว่าอุปกรณ์ที่สั่งงานไปทำงานได้จริงหรือไม่ เพื่อให้ง่ายต่อการควบคุม
๒. หากต้องการความรวดเร็วในการใช้งานแนะนำให้ทำการค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย์
๓. สามารถที่จะเขียนแอพพลิเคชั่น เผื่อใช้ในการควบคุมชุดควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าหลายๆชุดได้

          ๕.๓.๒ ข้อเสนอแนะในการขยายผลของโครงการ
จากการทดสอบการใช้งานของเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ พบว่าการทำงานของชุดควบคุมในส่วนของเหรียญ เมื่อมีการไหลของเหรียญอย่างต่อเนื่องที่ของแต่ละช่อง ทำให้เกิดอาการเหรียญไหลลงผิดช่องอย่างเล็กน้อย ในการแก้ไขปัญหาอาจเปลี่ยนรูปแบบของรางใหม่ที่ใช้เป็นแบบแต่ละชั้นของแต่ละเหรียญ


บทที่ 4

บทที่ 4
ผลการดำเนินโครงการ

การดำเนินโครงการ เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อสร้างเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ 3. เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ
 โดยคณะผู้ดำเนินโครงการ ได้นำเสนอผลการดำเนินโครงการ และการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับหัวข้อดังนี้
              4.1 ขั้นตอนและวิธีการทดลอง เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ 4.2 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
     4.3 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ ด้านการออกแบบ ด้านการใช้งาน และด้านคุณภาพ มีรายละเอียดดังนี้

4.1 ขั้นตอนและวิธีการทดลอง
4.1.1 ทำการตั้งค่าเซ็นเซอร์
4.1.2 สร้างวงจรไฟเลี้ยง 5 v เพื่อต่อเข้ากับบอร์ดaduino
4.1.3 ต่อขาเซ็นเซ็อร์เข้ากับบอร์ด
4.1.4 ทดสอบการตกของเหรียญ

4.2 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อให้การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลมีความสะดวก และง่ายต่อการทำความเข้าใจเกี่ยวกับผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ดำเนินโครงการจึงได้กำหนดสัญลักษณ์ที่ใช้แทนตัวแปรและค่าสถิติต่าง ๆ ในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้

สัญลักษณ์ที่ใช้แทนค่าสถิติ
   Ⅺ   แทน    ค่าเฉลี่ย
         Ⅶ   แทน    ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


4.3 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
      ความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ ด้านการออกแบบ ด้านการใช้งาน และด้านคุณภาพตารางประกอบที่ แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลความหมายความคิดเห็นด้านการออกแบบของโครงการ เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ โดยภาพรวม
 ความคิดเห็นด้านการออกแบบ
ระดับความคิดเห็น
การแปลผล
1. มีความคงทนแข็งแรง
3.5
.53
มาก
2.มีความเหมาะสมกับการใช้งาน
3.9
.88
มาก
3.เคลื่อนย้ายได้สะดวก
4.3
.82
มาก
4.มีความทันสมัย
4.7
.48
ปานกลาง
5.ใช้งานง่ายไม่ยุ่งยาก
3.4
.70
ปานกลาง
รวม
3.96
.40
มาก

จากตารางประกอบที่ 2 พบว่าความคิดเห็นของผู้ประเมินด้านการออกแบบเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก   (= 3.96,  .40 )  เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมาก จำนวน 3 ข้อ และอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 2 ข้อ โดยมีข้อเฉลี่ย 3 อันดับแรกคือ ความคงทนแข็งแรง (= 3.5, = .53 ) รองลงมาคือ ความเหมาะสมกับการใช้งาน(= 3.9, = .88 ) และ เคลื่อนย้ายได้สะดวก     (= 4.3, = .82) ตามลำดับ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ใช้งานง่ายไม่ยุ้งยาก (= 3.4 , = .70)

ตารางประกอบที่ แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลความหมายความคิดเห็นด้านการใช้งานของโครงการ เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ โดยภาพรวม

 ความคิดเห็นด้านการใช้งาน
ระดับความคิดเห็น
การแปลผล
1. มีความปลอดภัยในการใช้งาน
3.5
.527
ปานกลาง
2. ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ของผู้ใช้
3.3
.483
ปานกลาง
3. มีคู่มือการใช้งานชัดเจน
4.2
.422
มาก
4. ช่วยประหยัดเวลาในการทำงาน
3.4
.516
ปานกลาง
5. สามารถนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ได้
4.3
.483
มาก
รวม
3.74
.33
มาก

จากตารางประกอบที่ 3 พบว่าความคิดเห็นของผู้ประเมินด้านการออกแบบเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก    (= 3.74 ,  .33 )  เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง  จำนวน 3 ข้อ โดยมีข้อเฉลี่ย 3 อันดับแรกคือ มีความปลอดภัยในการใช้งาน (= 3.5, = .527 ) รองลงมาคือ ช่วยประหยัดเวลาในการทำงาน(= 3.4 , = .516 ) และลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ (= 3.3,= .483 ) ตามลำดับ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากคือ คู่มือการใช้งานชัดเจน (= 4.2 , = .422) และสามารถนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ได้ (= 4.3 , = .483)


ตารางประกอบที่ แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลความหมายความคิดเห็นด้านคุณภาพ ของโครงการ เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ โดยภาพรวม
 ความคิดเห็นด้านคุณภาพ
ระดับความคิดเห็น
การแปลผล
1. ใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์
3.8
1.229
มาก
2. ใช้ได้ทั่วไปในทุกภูมิภาค
3.1
.994
ปานกลาง
3. ลดแรงงานในการผลิต
3.7
.675
มาก
4. ลดต้นทุนในการผลิต
3.0
.816
ปานกลาง
5. คุณภาพชีวิตดีขึ้น
3.2
1.229
ปานกลาง
รวม
3.4
.587
ปานกลาง


จากตารางประกอบที่ 4 พบว่าความคิดเห็นของผู้ประเมินด้านคุณภาพเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง(= 3.4 ,  .587 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมาก จำนวน 2 ข้อ และอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 3 ข้อ โดยมีข้อเฉลี่ย 3 อันดับแรกคือใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ (= 3.8, =1.229 ) รองลงมาคือ ลดแรงงานในการผลิต (= 3.7, = .675 ) และอยู่ในระดับปานกลาง จำนวน 3 ข้อคือ คุณภาพชีวิตดีขึ้น (= 3.2 ,  1.229 )  รองลงมาคือ ใช้ได้ทั่วไปในทุกภูมิภาค (= 3.1 ,  .994 )
ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ลดต้นทุนในการผลิต (= 3.0, = 1.229)