วันศุกร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

Automatic splitting medal

. ชื่อโครงการ   เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ

. ผู้รับผิดชอบโครงการ
. นางสาวศศิณาภรณ์  จำนงธรรม                                               
๒. นางสาวอารญา        บุญปัญญา       
ที่ปรึกษาโครงการ
. นายศราวุธ  ดีแสง                                           
๒. นายสุพจน์  แก่นกลาง
. หลักการและเหตุผล
          ในสภาวะของโลกปัจจุบันมีความก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ ทางด้านการศึกษา และทางด้านเทคโนโลยี ทาให้มีผู้ประดิษฐ์คิดค้นเครื่องอำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษย์เป็นอย่างมาก เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจที่มีความเจริญก้าวหน้านี้เองจึงทำให้มีการสร้างงานสร้างอาชีพให้แก่ชุมชนต่าง ๆ ทั้งในตัวเมืองและชนบท ไม่ว่าจะเป็นสถานประกอบการรายใหญ่และรายย่อยล้วนแล้วแต่มีรายจ่ายและรายรับในวงเงินที่สูงมากในแต่ละวัน ในบางครั้งจึงเป็นปัญหาการตรวจเช็คจำนวนเงิน โดยเฉพาะเงินที่เป็นเหรียญที่มีเหรียญสิบ เหรียญห้า เหรียญสองบาท เหรียญบาท ปนกันอยู่เป็นจำนวนมากทำให้ต้องเสียเวลาในการแยกเหรียญ การนับจำนวนเหรียญ
             จึงควรมีการคิดค้นเครื่องที่จะอำนวยความสะดวกในการแยกเหรียญขึ้น เพื่อช่วยลดภาระและความยุ่งยากของสถานประกอบการที่มีวงเงินหมุนเวียนที่เป็นเหรียญจำนวนมาก เพื่อประหยัดเวลาในการคัดแยกเหรียญ และลดต้นทุนในการผลิตเครื่องคัดแยกเหรียญ
          ดังนั้น จึงได้มีการเสนอโครงงานเรื่องเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ”  เนื่องจากผู้เสนอโครงงานนี้มีแนวคิดที่ว่าเครื่องแยกเหรียญนี้สามารถที่จะช่วยแบ่งเบาภาระในเรื่องการแยกเหรียญ ขนาดเหรียญ ๑๐ บาท ๕ บาท ๒ บาท ๑ บาท โดยสามารถนับจำนวนเหรียญจำนวนมากได้อย่างถูกต้องและต้นทุนการผลิต เครื่องแยกเหรียญ ในราคาที่ถูกกว่าเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติตามท้องตลาดซึ่งโครงงานของคณะผู้จัดทำที่ได้จัดทำขึ้นมานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนต้องการระดมสมองในการคิดต่อยอด ให้วัสดุที่มีการจัดทำขึ้นมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นไปอีกในระดับหนึ่งอีกด้วย


.วัตถุประสงค์ 
          ๑. เพื่อสร้างเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ
. เพื่อหาประสิทธิภาพของเครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ
๓. เพื่อหาความพึงพอใจของผู้ใช้เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ

. ขอบเขตของโครงการ
.๑ เป้าหมาย
..๑ เชิงปริมาณ
ได้เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติ 1 เครื่อง
..๑ เชิงคุณภาพ
                   เครื่องแยกเหรียญอัตโนมัติสามารถแยกเหรียญได้ ขนาดเหรียญ ๑๐ บาท ๕ บาท ๒ บาท ๑ บาท


.๒ ระยะเวลาและสถานที่ดำเนินการ     
..๑ ระยะเวลา   
๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๙ ถึง ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐
..๒ สถานที่ดำเนินการ
แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคชัยภูมิ       
. โปรแกรมที่ใช้
          ๑. Arduino
          ๒. Google Sketch up
. วิธีการและขั้นตอนการดำเนินงาน
รายการ
เดือน ต.ค.
เดือน พ.ย.
เดือน ธ.ค.
เดือน ม.ค.
เดือน ก.พ.
. วางแผนโครงการ


















. เสนอโครงการ


















. ขออนุมัติโครงการ


















. ดำเนินการ


















. นำเสนอโครงการ


















. ประเมินผล


















. สรุปและรายงานผล




























. งบประมาณและทรัพยากร
รายการ
จำนวน
จำนวนเงิน
. ตู้พลาสติก
๑ ตู้
๑๐๐๐ บาท
. รางพลาสติก
  ๑ ราง
๕๐๐ บาท
. ลิ้นชักพลาสติก
๔ อัน
๑๐๐๐ บาท
. กระปุก
๑ อัน
๔๐๐ บาท
. โฟโต้เซ็นเซอร์
๔ ตัว
๑๐๐๐ บาท
. จอ LCD
๑ อัน
๑๐๐ บาท
. อื่นๆ
-
๑๐๐๐ บาท
รวมทั้งสิ้น
๑๒
๕๐๐๐ บาท














ตู้พลาสติก

รางพลาสติก

ลิ้นชักพลาสติก
กระปุก


โฟโต้เซ็นเซอร์

. จอ LCD 

. การติดตามประเมินผล
          ทุกสัปดาห์ผู้ร่วมโครงการจะนำเสนอโครงการ เพื่อให้ทราบความคืบหน้าของทุกๆสัปดาห์และตรวจสอบเอกสาร บันทึกข้อมูลต่างๆ ร่วมทั่งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

๑๐. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
          ๑. ได้ความสามัคคีกับเพื่อนร่วมโครงการ
๒. ได้ความรู้เกี่ยวกับวงจรที่ใช้งานในโครงการ
๓. ได้ฝึกทักษะการทำงานด้วยตัวเอง


อ้างอิง  nano-product